|
ลักษณะยา |
ยาผง ยาผง (รพ.) ยาแคปซูล ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน |
|
สูตรตำรับ |
ในผงยา 104 กรัม ประกอบด้วย |
|
|
คำแนะนำ |
บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ |
|
ขนาดและวิธีใช้ |
ชนิดผง
ผู้ใหญ่
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ำกระสายยา วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
น้ำกระสายยาที่ใช้
- กรณีแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ใช้กระเทียม 3 กลีบ ทุบชงน้ำร้อนหรือใช้ใบกะเพราต้นเป็นน้ำกระสายยา
- ถ้าหาน้ำกระสายยาไม่ได้ให้ใช้น้ำสุกแทน
ชนิดลูกกลอนและชนิดแคปซูล
ผู้ใหญ่
รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนนอน เมื่อมีอาการ |
|
ข้อห้ามใช้ |
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ |
|
คำเตือน |
- ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ |
|
อาการไม่พึงประสงค์ |
|
|
|
ลักษณะยา |
ยาผง ยาผง (รพ.) ยาแคปซูล ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน |
|
สูตรตำรับ |
ในผงยา 104 กรัม ประกอบด้วย |
|
|
คำแนะนำ |
บรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน ท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ เป็นต้น |
|
ขนาดและวิธีใช้ |
ชนิดผง
ผู้ใหญ่
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ำกระสายยา วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
น้ำกระสายยาที่ใช้
- กรณีบรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ใช้เปลือกแคหรือเปลือกสะเดา หรือเปลือกลูกทับทิมต้ม แทรกกับน้ำปูนใสเป็นน้ำกระสายยา
- ถ้าหาน้ำกระสายยาไม่ได้ให้ใช้น้ำสุกแทน
ชนิดแคปซูลและชนิดลูกกลอน
ผู้ใหญ่
รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนนอน เมื่อมีอาการ |
|
ข้อห้ามใช้ |
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ |
|
คำเตือน |
- ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ในกรณีท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์ |
|
อาการไม่พึงประสงค์ |
|
|
|