ชื่อหลักสูตร | วิทยาศาสตรบัณฑิต (สุขภาพดิจิทัล) Bachelor of Science (Digital Health) |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แบนเนอร์ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปริญญาที่ได้รับ |
ชื่อเต็มภาษาไทย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพดิจิทัล ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Digital Health ชื่อย่อภาษาไทย Bachelor of Science (Digital Health) ชื่อย่อภาษาอังกฤษ B.Sc. (Digital Health) |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สถาบันที่อนุมัติ/สถาบันที่ทำการสอน | คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม สาขาวิชาสุขภาพดิจิทัล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วันที่หลักสูตรมีผลใช้งาน | หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2568 เริ่มเปิดสอนภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2568
สภาวิชาการให้ความเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 1 /2568 วันที่ 21 เดือน มกราคม พ.ศ. 2568 สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 2 / 2568 วันที่ 19 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร | ![]() หมายเหตุ1: ระบุสัญลักษณ์ ✓ในช่อง “Domain” ต่าง ๆ โดย 1 PLO รับผิดชอบ 1 Domain และมี 1 ระดับการเรียนรู้ ตามคำกิริยาของ PLO Cognitive Domain (Revised Bloom’s Taxonomy) แทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ Remembering แทนด้วย “R” Understanding แทนด้วย “U” Applying แทนด้วย “Ap” Analyzing แทนด้วย “An” Evaluating แทนด้วย “E” Creating แทนด้วย “C” Psychomotor Domain (Dave’s Taxonomy) แทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ Imitation แทนด้วย “I” Manipulation แทนด้วย “M” Precision แทนด้วย “P” Articulation แทนด้วย “A” Naturalisation แทนด้วย “N” Affective Domain (Bloom’s Taxonomy) แทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ Receiving Phenomena แทนด้วย “Rec” Responding to Phenomena แทนด้วย “Res” Valuing แทนด้วย “V” Organizing แทนด้วย “O” Internalizing Values (Characterization) แทนด้วย “Iv” หมายเหตุ 2 : คำจำกัดความเพิ่มเติมสำหรับ PLOs PLO4 “หลักศิลปะสร้างสรรค์” หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่แสดงออกมาในรูปลักษณะต่างๆ เพื่อให้เกิดสุนทรียภาพ ความประทับใจ มีการถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก และจินตนาการของผู้สร้างสรรค์ PLO7 “นวัตกรรม” หมายถึง การนำความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม PLO9 “ภาษาที่เหมาะสม” หมายถึง การเลือกใช้คำและระดับภาษาให้เหมาะสมกับผู้ฟัง สถานที่ และโอกาสในการสื่อสาร สุภาพและเหมาะสมกับบุคลิกภาพของผู้พูดและผู้ฟัง ชัดเจนและเข้าใจง่าย กะทัดรัดและตรงประเด็น PLO10 "ความแตกต่างทางความคิดและวัฒนธรรม" หมายถึง ความหลากหลายของแนวคิด ความเชื่อ ค่านิยม พฤติกรรม และวิถีชีวิตที่แตกต่างกันระหว่างบุคคลหรือกลุ่มคนในสังคม PLO12 "กฎหมาย จริยธรรม จรรยาบรรณ และนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการดูแลสุขภาพ" หมายถึง พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพดิจิทัล กฎหมายเกี่ยวกับเครื่องมือแพทย์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพดิจิทัล หลักจริยธรรมทางการแพทย์ จรรยาบรรณของบุคลากรทางการแพทย์ นโยบายสุขภาพดิจิทัลแห่งชาติ มาตรฐานความปลอดภัยของข้อมูลสุขภาพ แนวทางการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับระบบสุขภาพดิจิทัล นโยบายการเข้าถึงและแบ่งปันข้อมูลสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ แนวปฏิบัติด้านจริยธรรมสำหรับปัญญาประดิษฐ์ในการดูแลสุขภาพ รวมถึงกฎหมาย นโยบาย และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจเกิดขึ้นใหม่หลังจากการร่างหลักสูตร |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แผนการศึกษา | 1. แผนการศึกษาสำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา 4 ปี 2. แผนการศึกษาสำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา 3 ปี |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์ผู้สมัครแต่ละแผน |
1.1 เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าซึ่งกระทรวงศึกษาธิการรับรอง
1.2 สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าหรือระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาชั้นสูงทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ ซึ่งมหาวิทยาลัยประกาศกำหนด 1.3 เป็นผู้ที่มีร่างกายแข็งแรง และไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 1.4 ไม่เคยต้องโทษตามคำพิพากษาของศาลถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ความผิดที่กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ 1.5 มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างหลักสูตร |
จำนวนหน่วยกิต : รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา |
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อัตราค่าธรรมเนียม | นักศึกษาโครงการพิเศษ อัตราเหมาจ่ายเฉพาะค่าหน่วยกิต
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาตลอดหลักสูตร 3 ปี
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาตลอดหลักสูตร 4 ปี
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เอกสารเผยแพร่ | - รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพดิจิทัล |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
SU103 | มนุษย์กับการคิด | 3(3-0-6) |
SU146 | เรียนเพื่อเรียนรู้ | 3(3-0-6) |
SU201 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในยุคดิจิทัล | 3(2-2-5) |
553 101 | กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยามนุษย์ | 3(3-0-6) |
553 104 | เวชศาสตร์การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ | 2(2-0-4) |
553 107 | คณิตศาสตร์สำหรับสุขภาพดิจิทัล | 3(3-0-6) |
553 109 | พื้นฐานการโปรแกรมสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 3(2-2-5) |
553 160 | บทนำสู่สุขภาพดิจิทัล | 1(1-0-2) |
รวมจำนวน | 21 |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
SU126 | วิถีชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม | 3(3-0-6) |
SU202 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในสังคมโลก | 3(2-2-5) |
SU203 | การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ | 3(3-0-6) |
553 102 | ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคและความผิดปกติ | 3(3-0-6) |
553 105 | ระบบสุขภาพและการจัดการ | 2(2-0-4) |
553 108 | สถิติพื้นฐานสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 3(2-2-5) |
553 110 | ระบบเครือข่ายสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(1-2-3) |
553 112 | การสืบค้นและประเมินสารสนเทศสุขภาพ | 2(1-2-3) |
รวมจำนวน | 21 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
SU302 | การสร้างสรรค์และนวัตกรรม | 3(3-0-6) |
SUXXX | วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป | 3 |
553 103 | ความรู้พื้นฐานเรื่องยา | 1(1-0-2) |
553 106 | ระบาดวิทยาพื้นฐาน | 2(2-0-4) |
553 111 | หลักสารสนเทศศาสตร์สุขภาพและสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 116 | ระบบข้อมูลสุขภาพ | 2(2-0-4) |
553 117 | ระบบฐานข้อมูลสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 3(2-2-5) |
553 118 | การจัดการข้อมูลสุขภาพ | 3(2-2-5) |
553 127 | การพัฒนาสื่อสุขภาพ | 2(1-2-3) |
รวมจำนวน | 21 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
553 113 | กฎหมายและจริยธรรมทางการแพทย์สำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 114 | ภาษาอังกฤษสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 119 | ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของระบบข้อมูลสุขภาพ | 2(1-2-3) |
553 120 | การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศสุขภาพ | 2(2-0-4) |
553 121 | วิทยาการข้อมูลสุขภาพ | 3(2-2-5) |
553 123 | เทคโนโลยีสุขภาพดิจิทัล 1 | 2(2-0-4) |
553 128 | การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(1-2-3) |
553 131 | พื้นฐานการวิจัยด้านสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 xxx | วิชาเลือกหมวดวิชาเฉพาะ | 2 |
รวมจำนวน | 19 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
553 115 | การสื่อสารสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(1-2-3) |
553 122 | พื้นฐานปัญญาประดิษฐ์สำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 124 | เทคโนโลยีสุขภาพดิจิทัล 2 | 2(2-0-4) |
553 129 | การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(1-2-3) |
553 130 | การออกแบบผลิตภัณฑ์สุขภาพดิจิทัลเชิงสร้างสรรค์ | 2(1-2-3) |
553 132 | โครงงานสุขภาพดิจิทัล 1 | 1(0-2-1) |
553 134 | การบริหารโครงการสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 xxx | วิชาเลือกหมวดวิชาเฉพาะ | 2 |
xxx xxx | วิชาเลือกเสรี | 3 |
รวมจำนวน | 18 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
553 126 | การประเมินเทคโนโลยีสุขภาพดิจิทัล | 3(2-2-5) |
553 133 | โครงงานสุขภาพดิจิทัล 2 | 2(0-6-0) |
553 135 | แนวโน้มและนวัตกรรมในอนาคตของสุขภาพดิจิทัล | 1(1-0-2) |
553 136 | การวิเคราะห์นโยบายและแผนงานสุขภาพ | 3(2-2-5) |
553 xxx | วิชาเลือกหมวดวิชาเฉพาะ | 5 |
xxx xxx | วิชาเลือกเสรี | 3 |
รวมจำนวน | 17 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 3 (ภาคฤดูร้อน)
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
553 137 | ฝึกประสบการณ์ | 3 (ไม่น้อยกว่า 300ชม) |
รวมจำนวน | 3 |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
SU103 | มนุษย์กับการคิด | 3(3-0-6) |
SU146 | เรียนเพื่อเรียนรู้ | 3(3-0-6) |
SU201 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในยุคดิจิทัล | 3(2-2-5) |
553 101 | กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยามนุษย์ | 3(3-0-6) |
553 104 | เวชศาสตร์การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ | 2(2-0-4) |
553 107 | คณิตศาสตร์สำหรับสุขภาพดิจิทัล | 3(3-0-6) |
รวมจำนวน | 17 |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
SU202 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในสังคมโลก | 3(2-2-5) |
SU203 | การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ | 3(3-0-6) |
553 102 | ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคและความผิดปกติ | 3(3-0-6) |
553 108 | สถิติพื้นฐานสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 3(2-2-5) |
553 109 | พื้นฐานการโปรแกรมสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 3(2-2-5) |
553 160 | บทนำสู่สุขภาพดิจิทัล | 1(1-0-2) |
รวมจำนวน | 16 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
SU126 | วิถีชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม | 3(3-0-6) |
SU302 | การสร้างสรรค์และนวัตกรรม | 3(3-0-6) |
553 103 | ความรู้พื้นฐานเรื่องยา | 1(1-0-2) |
553 105 | ระบบสุขภาพและการจัดการ | 2(2-0-4) |
553 110 | ระบบเครือข่ายสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(1-2-3) |
553 111 | หลักสารสนเทศศาสตร์สุขภาพและสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 112 | การสืบค้นและประเมินสารสนเทศสุขภาพ | 2(1-2-3) |
รวมจำนวน | 15 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
553 106 | ระบาดวิทยาพื้นฐาน | 2(2-0-4) |
553 113 | กฎหมายและจริยธรรมทางการแพทย์สำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 116 | ระบบข้อมูลสุขภาพ | 2(2-0-4) |
553 117 | ระบบฐานข้อมูลสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 3(2-2-5) |
553 118 | การจัดการข้อมูลสุขภาพ | 3(2-2-5) |
553 123 | เทคโนโลยีสุขภาพดิจิทัล 1 | 2(2-0-4) |
553 127 | การพัฒนาสื่อสุขภาพ | 2(1-2-3) |
รวมจำนวน | 16 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
SUXXX | วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป | 3 |
553 114 | ภาษาอังกฤษสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 119 | ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของระบบข้อมูลสุขภาพ | 2(1-2-3) |
553 120 | การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศสุขภาพ | 2(2-0-4) |
553 121 | วิทยาการข้อมูลสุขภาพ | 3(2-2-5) |
553 124 | เทคโนโลยีสุขภาพดิจิทัล 2 | 2(2-0-4) |
553 128 | การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(1-2-3) |
553 131 | พื้นฐานการวิจัยด้านสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
รวมจำนวน | 18 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
553 122 | พื้นฐานปัญญาประดิษฐ์สำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 129 | การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(1-2-3) |
553 130 | การออกแบบผลิตภัณฑ์สุขภาพดิจิทัลเชิงสร้างสรรค์ | 2(1-2-3) |
553 134 | การบริหารโครงการสุขภาพดิจิทัล | 2(2-0-4) |
553 136 | การวิเคราะห์นโยบายและแผนงานสุขภาพ | 3(2-2-5) |
553 xxx | วิชาเลือกหมวดวิชาเฉพาะ | 3 |
xxx xxx | วิชาเลือกเสรี | 3 |
รวมจำนวน | 17 |
ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
553 115 | การสื่อสารสำหรับสุขภาพดิจิทัล | 2(1-2-3) |
553 126 | การประเมินเทคโนโลยีสุขภาพดิจิทัล | 3(2-2-5) |
553 132 | โครงงานสุขภาพดิจิทัล 1 | 1(0-2-1) |
553 135 | แนวโน้มและนวัตกรรมในอนาคตของสุขภาพดิจิทัล | 1(1-0-2) |
553 xxx | วิชาเลือกหมวดวิชาเฉพาะ | 6 |
xxx xxx | วิชาเลือกเสรี | 3 |
รวมจำนวน | 16 |
ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต |
553 133 | โครงงานสุขภาพดิจิทัล 2 | 2(0-6-0) |
553 137 | ฝึกประสบการณ์ | 3 (ไม่น้อยกว่า 300 ชม) |
รวมจำนวน | 5 |
วิชาบังคับ จำนวน 6 หน่วยกิต | ||
กลุ่มวิชาทักษะภาษาและการสื่อสาร | ||
SU201* | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในยุคดิจิทัล
(Communicative English in the Digital Era) |
3(2-2-5) |
SU202* | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในสังคมโลก
(English for Global Communication) |
3(2-2-5) |
หมายเหตุ: * หมายเหตุ: หมายถึง รายวิชา 201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในยุคดิจิทัล นักศึกษาที่มีผลการทดสอบภาษาอังกฤษ STEP แรกเข้าตั้งแต่ระดับ B1 ขึ้นไป และ SU202 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในสังคมโลก นักศึกษาที่มีผลการทดสอบภาษาอังกฤษ STEP แรกเข้าตั้งแต่ระดับ B2 ขึ้นไปหรือมีผลการทดสอบภาษาอังกฤษจากสถาบันทดสอบอื่นที่เทียบเท่าตามประกาศมหาวิทยาลัย ได้รับการยกเว้นไม่ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาดังกล่าว นักศึกษาจะได้รับผลการศึกษาเป็น S (Satisfactory) และได้รับหน่วยกิตสะสมโดยไม่นำมาคำนวณค่าผลการเรียนเฉลี่ย ในกรณียื่นผลการทดสอบภาษาอังกฤษ STEP แรกเข้าหรือผลการทดสอบภาษาอังกฤษจากสถาบันทดสอบอื่นที่เทียบเท่าตามประกาศมหาวิทยาลัย ซึ่งมีอยู่ก่อนปีที่เข้าศึกษาปัจจุบัน ผลการทดสอบดังกล่าวต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับตั้งแต่วันสอบจนถึงวันที่ยื่นต่อมหาวิทยาลัย | ||
วิชาบังคับเลือก จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยหลักสูตรกำหนดเลือกจากทุกกลุ่มต่อไปนี้ จำนวนกลุ่มละ 3 หน่วยกิต | ||
กลุ่มวิชาทักษะสังคมและชีวิต | ||
SU101 | ความเป็นผู้ประกอบการที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
(Innovation-Driven Entrepreneurship) |
3(3-0-6) |
SU102 | ศิลปากรสร้างสรรค์
(Creative Silpakorn) |
3(3-0-6) |
SU103# | มนุษย์กับการคิด
(Human and Thinking) |
3(3-0-6) |
กลุ่มวิชาทักษะภาษาและการสื่อสาร | ||
SU203# | การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
(Creative Communication) |
3(3-0-6) |
กลุ่มวิชาทักษะนวัตกรรมและการสร้างสรรค์ | ||
SU301 | ศิลปะศิลปากร
(Silpakorn Arts) |
3(3-0-6) |
SU302# | การสร้างสรรค์และนวัตกรรม
(Creativity and Innovation) |
3(3-0-6) |
SU304 | ออกแบบโครงการสร้างสรรค์
(Creative Project Design) |
3(3-0-6) |
หมายเหตุ: # หมายถึงวิชาที่หลักสูตรกำหนดให้เรียนเนื่องจากเป็นรายวิชาที่จะผลักดันให้ผู้เรียนบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร | ||
วิชาเลือก จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต | ||
กลุ่มวิชาทักษะสังคมและชีวิต | ||
SU126# | วิถีชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม
(Ways of Life in Multicultural Society) |
3(3-0-6) |
SU131 | ทักษะการรู้เท่าทันสารสนเทศและสื่อ
(Information and Media Literacy Skills) |
3(3-0-6) |
SU139 | ความรอบรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(Computer, Information Technology and Communication Literacy) |
3(3-0-6) |
SU144 | โปรแกรมสำนักงานวันนี้
(Today’s Office Application) |
3(3-0-6) |
SU146# | เรียนเพื่อเรียนรู้
(Learning How to Learn) |
3(3-0-6) |
SU147 | วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นด้วยเอ็กเซล
(Data Analytics with Excel) |
3(3-0-6) |
SU149 | การดูแลสุขภาพ
(Health Care) |
3(3-0-6) |
SU164 | สังคมและวัฒนธรรมไทย
(Thai Society and Culture) |
3(3-0-6) |
SU172 | เทคโนโลยีและนวัตกรรมการสื่อสาร
(Technology and Media Innovation) |
3(3-0-6) |
SU174 | การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล
(Digital Transformation) |
3(3-0-6) |
SU176 | ธุรกิจดิจิทัล
(Digital Business) |
3(3-0-6) |
หมายเหตุ: # หมายถึงวิชาที่หลักสูตรกำหนดให้เรียนเนื่องจากเป็นรายวิชาที่จะผลักดันให้ผู้เรียนบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร | ||
กลุ่มวิชาทักษะภาษาและการสื่อสาร | ||
SU221 | ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(English for Science and Technology) |
3(3-0-6) |
SU226 | การนำเสนอเชิงสร้างสรรค์ด้วยภาษาอังกฤษ
(Creative Pitching and Presentation in English) |
3(3-0-6) |
SU229 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในที่ทำงาน
(English for Workplace Communication) |
3(2-2-5) |
SU233 | การเข้าใจดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ 101
(Digital Literacy and AI 101) |
3(3-0-6) |
SU234 | ทักษะการสื่อสารด้วยข้อมูลและนำเสนอด้วยภาพ
(Data Literacy and Data Visualization) |
3(3-0-6) |
กลุ่มวิชาทักษะนวัตกรรมและการสร้างสรรค์ | ||
SU328 | นักสร้างสื่อผสมสำหรับโซเชียลมีเดีย
(Digital Media Creator for Social Media) |
3(3-0-6) |
SU336 | โลกแห่งแอนิเมชัน
(World of Animation) |
3(3-0-6) |
SU337 | ภาพและเสียงดิจิทัล
(Digital Imaging and Sound) |
3(3-0-6) |
วิชาบังคับ จำนวน 81 หน่วยกิต | ||
กลุ่มวิชาพื้นฐานสุขภาพ จำนวน 13 หน่วยกิต | ||
553 101 | กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยามนุษย์
(Human Anatomy and Physiology) |
3(3-0-6) |
553 102 | ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคและความผิดปกติ
(Basic Knowledge of Diseases and Disorders) |
3(3-0-6) |
553 103 | ความรู้พื้นฐานเรื่องยา
(Basic Knowledge of Medications) |
1(1-0-2) |
553 104 | เวชศาสตร์การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ
(Preventive and Health Promotion Medicine) |
2(2-0-4) |
553 105 | ระบบสุขภาพและการจัดการ
(Health Systems and Management) |
2(2-0-4) |
553 106 | ระบาดวิทยาพื้นฐาน
(Basic Epidemiology) |
2(2-0-4) |
กลุ่มวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 11 หน่วยกิต | ||
553 107 | คณิตศาสตร์สำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Mathematics for Digital Health) |
3(3-0-6) |
553 108 | สถิติพื้นฐานสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Statistics for Digital Health) |
3(2-2-5) |
553 109 | พื้นฐานการโปรแกรมสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Basic Programming for Digital Health) |
3(2-2-5) |
553 110 | ระบบเครือข่ายสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Network Systems for Digital Health) |
2(1-2-3) |
กลุ่มวิชาสุขภาพดิจิทัล จำนวน 47 หน่วยกิต | ||
553 111 | หลักสารสนเทศศาสตร์สุขภาพและสุขภาพดิจิทัล
(Principles of Health Informatics and Digital Health) |
2(2-0-4) |
553 112 | การสืบค้นและประเมินสารสนเทศสุขภาพ
(Searching and Evaluation of Health Information) |
2(1-2-3) |
553 113 | กฎหมายและจริยธรรมทางการแพทย์สำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Medical Law and Ethics for Digital Health) |
2(2-0-4) |
553 114 | ภาษาอังกฤษสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(English for Digital Health) |
2(2-0-4) |
553 115 | การสื่อสารสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Communications for Digital Health) |
2(1-2-3) |
553 116 | ระบบข้อมูลสุขภาพ
(Health Data Systems) |
2(2-0-4) |
553 117 | ระบบฐานข้อมูลสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Database Systems for Digital Health) |
3(2-2-5) |
553 118 | การจัดการข้อมูลสุขภาพ
(Health Data Management) |
3(2-2-5) |
553 119 | ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของระบบข้อมูลสุขภาพ
(Security and Privacy of Health Data Systems) |
2(1-2-3) |
553 120 | การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศสุขภาพ
(Health Information Systems Analysis and Design) |
2(2-0-4) |
553 121 | วิทยาการข้อมูลสุขภาพ
(Health Data Science) |
3(2-2-5) |
553 122 | พื้นฐานปัญญาประดิษฐ์สำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Basic AI for Digital Health) |
2(2-0-4) |
553 123 | เทคโนโลยีสุขภาพดิจิทัล 1
(Digital Health Technology I) |
2(2-0-4) |
553 124 | เทคโนโลยีสุขภาพดิจิทัล 2
(Digital Health Technology II) |
2(2-0-4) |
553 126 | การประเมินเทคโนโลยีสุขภาพดิจิทัล
(Digital Health Technology Assessment) |
3(2-2-5) |
553 127 | การพัฒนาสื่อสุขภาพ
(Health Media Development) |
2(1-2-3) |
553 128 | การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Digital Health Web Application Development) |
2(1-2-3) |
553 129 | การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Digital Health Mobile Application Development) |
2(1-2-3) |
553 134 | การบริหารโครงการสุขภาพดิจิทัล
(Digital Health Project Management) |
2(2-0-4) |
553 135 | แนวโน้มและนวัตกรรมในอนาคตของสุขภาพดิจิทัล
(Future Trends and Innovations in Digital Health) |
1(1-0-2) |
553 136 | การวิเคราะห์นโยบายและแผนงานสุขภาพ
(Health Policy and Planning Analysis) |
3(2-2-5) |
553 160 | บทนำสู่สุขภาพดิจิทัล
(Introduction to Digital Health) |
1(1-0-2) |
กลุ่มวิชาวิจัยและพัฒนา จำนวน 7 หน่วยกิต | ||
553 130 | การออกแบบผลิตภัณฑ์สุขภาพดิจิทัลเชิงสร้างสรรค์
(Creative Design of Digital Health Products) |
2(1-2-3) |
553 131 | พื้นฐานการวิจัยด้านสุขภาพดิจิทัล
(Fundamentals of Digital Health Research) |
2(2-0-4) |
553 132 | โครงงานสุขภาพดิจิทัล 1
(Digital Health Project I) |
1(0-2-1) |
553 133 | โครงงานสุขภาพดิจิทัล 2
(Digital Health Project II) |
2(0-6-0) |
กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์ จำนวน 3 หน่วยกิต | ||
553 137 | ฝึกประสบการณ์
(Field Experience) |
3(ไม่น้อยกว่า 300 ชั่วโมง) |
วิชาเลือก จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต | ||
553 125 | อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Internet of Things for Digital Health) |
2(1-2-3) |
553 138 | หัวข้อปัจจุบันทางสุขภาพดิจิทัล 1
(Current Topics in Digital Health I) |
2(2-0-4) |
553 139 | หัวข้อปัจจุบันทางสุขภาพดิจิทัล 2
(Current Topics in Digital Health II) |
1(0-2-0) |
553 140 | ปัญหาพิเศษทางสุขภาพดิจิทัล 1
(Special Problems in Digital Health I) |
2(2-0-4) |
553 141 | ปัญหาพิเศษทางสุขภาพดิจิทัล 2
(Special Problems in Digital Health II) |
1(0-2-0) |
553 142 | การโปรแกรมฐานข้อมูลสุขภาพ
(Health Database Programming) |
3(2-2-5) |
553 143 | การจัดการองค์กรดิจิทัลสุขภาพ
(Digital Health Organization Management) |
2(2-0-4) |
553 144 | การประมวลผลกลุ่มเมฆสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Cloud Computing for Digital Health) |
3(2-2-5) |
553 145 | การธรรมาภิบาลข้อมูลสุขภาพ
(Health Data Governance) |
2(2-0-4) |
553 146 | การพัฒนาเกมส์สุขภาพ
(Health Games Development) |
2(1-2-3) |
553 147 | การพัฒนาเว็บไซต์สุขภาพ
(Health Websites Development) |
2(1-2-3) |
553 148 | การสร้างสื่อแอนิเมชัน
(Animation Media Development) |
2(1-2-3) |
553 149 | โปรแกรมประยุกต์แบบโนโค้ดสำหรับสุขภาพดิจิทัล
(No-Code Applications for Digital Health) |
2(1-2-3) |
553 150 | เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนและความเป็นจริงเสริมสำหรับสื่อสุขภาพ
(Virtual Reality and Augmented Reality Technology for Health Media) |
2(2-0-4) |
553 151 | อุปกรณ์อัจฉริยะและระบบอัตโนมัติสำหรับการดูแลสุขภาพ
(Smart Devices and Automations for Healthcare) |
2(2-0-4) |
553 152 | ชีวสถิติ
(Biostatistics) |
2(1-2-3) |
553 153 | การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
(Advanced Data Analytics) |
2(1-2-3) |
553 154 | ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับงานสุขภาพ
(Decision Support System for Healthcare) |
2(2-0-4) |
553 155 | ปัญญาประดิษฐ์ประยุกต์ในงานดูแลสุขภาพ
(Applied Artificial Intelligence in Healthcare) |
3(2-2-5) |
553 156 | เจเนอเรทีฟเอไอสำหรับงานดูแลสุขภาพ
(Generative AI for Healthcare) |
2(1-2-3) |
553 157 | การตลาดดิจิทัลด้านสุขภาพ
(Health Digital Marketing) |
2(2-0-4) |
553 158 | การขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์สุขภาพดิจิทัล
(Digital Health Product Registration) |
2(2-0-4) |
553 159 | ภาษาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับสุขภาพดิจิทัล
(Computer Programming Languages for Digital Health) |
3(2-2-5) |
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร หรือรายวิชาของสถาบันอื่นที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำคณะเภสัชศาสตร์ ทั้งนี้ การนับหน่วยกิตในแต่ละหมวดวิชา ให้นับเป็นรายวิชา จะแยกนับหน่วยกิต รายวิชาใดรายวิชาหนึ่งไปไว้ทั้งสองหมวดวิชามิได้ |