ชื่อหลักสูตร | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ) Doctor of Philosophy (Health System and Wellness Management) |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แบนเนอร์ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปริญญาที่ได้รับ |
ชื่อเต็มภาษาไทย หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Doctor of Philosophy Program in Health System and Wellness Management ชื่อย่อภาษาไทย ปร.ด. (การจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ) ชื่อย่อภาษาอังกฤษ Ph.D. (Health System and Wellness Management) |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สถาบันที่อนุมัติ/สถาบันที่ทำการสอน | คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม สาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและการบริหารทางเภสัชศาสตร์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วันที่หลักสูตรมีผลใช้งาน | หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566 จะเริ่มใช้ในภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2566
ที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะ โดยมติเวียนครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2566 สภาวิชาการให้ความเห็นชอบในการประชุม ครั้งที่ 4/2566 เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2566 สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ 5/2566 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แผนการศึกษา | แผน 1 เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาการ 1) แผน 1.1 (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท) มีค่าเทียบเท่า 48 หน่วยกิต 2) แผน 1.2 (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี) มีค่าเทียบเท่า 72 หน่วยกิต แผน 2 เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาชีพชั้นสูง 1) แผน 2.1 (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท) ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต 2) แผน 2.2 (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี) ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์ผู้สมัครแต่ละแผน | แผน ก แบบ ก 1
1) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต หรือเทียบเท่า 2) ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.75 หรือเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานและทำวิจัยในสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ โดยมีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งในการศึกษาในระดับปริญญาตรี 3) มีคุณสมบัติอื่นๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการประจำคณะเภสัชศาสตร์ 4) มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรือ ที่มีการเปลี่ยนแปลงภายหลัง แผน ก แบบ ก 2 1) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต หรือเทียบเท่า 2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์ในการทำงานเกี่ยวกับสาขาวิชาเภสัชศาสตร์มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี 3) มีคุณสมบัติอื่นๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการประจำคณะเภสัชศาสตร์ 4) มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรือ ทีมีการเปลี่ยนแปลงภายหลัง |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างหลักสูตร |
จำนวนหน่วยกิต แบ่งเป็น 4 แผน ดังนี้1) แผน 1.1 รวมตลอดหลักสูตร มีค่าเทียบเท่า 48 หน่วยกิต 2) แผน 1.2 รวมตลอดหลักสูตร มีค่าเทียบเท่า 72 หน่วยกิต 3) แผน 2.1 รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต 4) แผน 2.2 รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต แบ่งเป็น 4 แผน ดังนี้แผน 1 เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาการ
แผน 2 เน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาชีพชั้นสูง
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา | 1) บุคลากรด้านสาธารณสุขในหน่วยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบสุขภาพ
และสุขภาวะ
2) ผู้สอน นักวิจัย และนักวิทยาศาสตร์ในหน่วยงานราชการ และเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ การจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 3) นักวิชาการในหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้การจัดการระบบสุขภาพ และสุขภาวะ |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 701 | วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ | 2*(2-0-4) |
572 702 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 1 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 0 |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 703 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 2 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 0 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 751 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 12 |
572 706 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 1 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 751 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 12 |
572 707 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 2 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 751 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 12 |
572 708 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 3 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 751 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 12 |
572 709 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 4 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 701 | วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ | 2*(2-0-4) |
572 702 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 1 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 0 |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 703 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 2 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 0 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 704 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 3 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 705 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 4 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 752 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 12 |
572 706 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 1 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 752 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 12 |
572 707 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 2 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 752 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 12 |
572 708 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 3 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 752 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 12 |
572 709 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 4 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 752 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 12 |
572 710 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 5 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 752 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 12 |
572 711 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 6 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 12 |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 713 | การจัดการองค์กรสุขภาพที่เป็นเลิศ | 2(2-0-4) |
572 714 | นโยบายสุขภาพ | 2(2-0-4) |
572 702 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 1 | 1*(0-3-0) |
วิชาเลือก | 2 | |
รวมจำนวน | 6 |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 701 | วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ | 2(2-0-4) |
572 712 | สถิติประยุกต์ในการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ | 2(2-0-4) |
572 703 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 2 | 1*(0-3-0) |
วิชาเลือก | 2 | |
รวมจำนวน | 6 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 753 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 9 |
572 706 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 1 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 9 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 753 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 9 |
572 707 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 2 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 9 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 753 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 9 |
572 708 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 3 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 9 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 753 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 9 |
572 709 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 4 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 9 |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 715 | ระบบสุขภาพและบริการสุขภาพ | 3(3-0-6) |
572 702 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 1 | 1*(0-3-0) |
วิชาเลือก | 2 | |
รวมจำนวน | 5 |
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 716 | การจัดการทรัพยากรและคุณภาพทางสุขภาพ | 3(3-0-6) |
572 703 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 2 | 1*(0-3-0) |
วิชาเลือก | 4 | |
รวมจำนวน | 7 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 713 | การจัดการองค์กรสุขภาพที่เป็นเลิศ | 2(2-0-4) |
572 714 | นโยบายสุขภาพ | 2(2-0-4) |
572 704 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 3 | 1*(0-3-0) |
วิชาเลือก | 2 | |
รวมจำนวน | 6 |
ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 701 | วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ | 2(2-0-4) |
572 712 | สถิติประยุกต์ในการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ | 2(2-0-4) |
572 705 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 4 | 1*(0-3-0) |
วิชาเลือก | 2 | |
รวมจำนวน | 6 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 754 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 8 |
572 706 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 1 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 8 |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 754 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 8 |
572 707 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 2 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 8 |
ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 754 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 8 |
572 708 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 3 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 8 |
ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 754 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 8 |
572 709 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 4 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 8 |
ปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 754 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 8 |
572 710 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 5 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 8 |
ปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิจ |
572 754 | วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) | 8 |
572 711 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 6 | 1*(0-3-0) |
รวมจำนวน | 8 |
หมายเหตุ * หมายถึง รายวิชาที่เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต
แบบ 1.1 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 – ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2
แบบ 1.2 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 – ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2
แบบ 2.1 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 – ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2
แบบ 2.2 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 – ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2
หมวดวิชาบังคับ(ไม่นับหน่วยกิต) จำนวน 8 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปนี้ | ||
572 701 | วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Advanced Research Methodology in Health System and Wellness Management) |
2*(2-0-4) |
572 702 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 1
1*(0-3-0) |
(Seminar in Health System and Wellness Management I) |
572 703 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 2
(Seminar in Health System and Wellness Management II) |
1*(0-3-0) |
572 706 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 1
(Thesis progression I) |
1*(0-3-0) |
572 707 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 2
(Thesis progression II) |
1*(0-3-0) |
572 708 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 3
(Thesis progression III) |
1*(0-3-0) |
572 709 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 4
(Thesis progression IV) |
1*(0-3-0) |
วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) 48 หน่วยกิต | ||
572 751 | วิทยานิพนธ์
(Thesis) |
มีค่าเทียบเท่า 48 หน่วยกิต |
หมวดวิชาบังคับ(ไม่นับหน่วยกิต) จำนวน 12 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปนี้ | ||
572 701 | วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Advanced Research Methodology in Health System and Wellness Management) |
2*(2-0-4) |
572 702 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 1
1*(0-3-0) |
(Seminar in Health System and Wellness Management I) |
572 703 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 2
(Seminar in Health System and Wellness Management II) |
1*(0-3-0) |
572 704 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 3
(Seminar in Health System and Wellness Management III) |
1*(0-3-0) |
572 705 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 4
(Seminar in Health System and Wellness Management IV) |
1*(0-3-0) |
572 706 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 1
(Thesis progression I) |
1*(0-3-0) |
572 707 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 2
(Thesis progression II) |
1*(0-3-0) |
572 708 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 3
(Thesis progression III) |
1*(0-3-0) |
572 709 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 4
(Thesis progression IV) |
1*(0-3-0) |
572 710 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 5
(Thesis progression V) |
1*(0-3-0) |
572 711 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 6
(Thesis progression VI) |
1*(0-3-0) |
วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) 72 หน่วยกิต | ||
572 751 | วิทยานิพนธ์
(Thesis) |
มีค่าเทียบเท่า 72 หน่วยกิต |
หมวดวิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) จำนวน 6 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปนี้ | ||
572 702 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 1
1*(0-3-0) |
(Seminar in Health System and Wellness Management I) |
572 703 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 2
(Seminar in Health System and Wellness Management II) |
1*(0-3-0) |
572 706 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 1
(Thesis progression I) |
1*(0-3-0) |
572 707 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 2
(Thesis progression II) |
1*(0-3-0) |
572 708 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 3
(Thesis progression III) |
1*(0-3-0) |
572 709 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 4
(Thesis progression IV) |
1*(0-3-0) |
หมวดวิชาบังคับ จำนวน 8 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปนี้ | ||
572 701 | วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Advanced Research Methodology in Health System and Wellness Management) |
2(2-0-4) |
572 712 | สถิติประยุกต์ในการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Applied statistics in Health System Management and Wellness Management) |
2(2-0-4) |
572 713 | การจัดการองค์กรสุขภาพที่เป็นเลิศ
(Excellence organization management) |
2(2-0-4) |
572 714 | นโยบายสุขภาพ
(Health policy) |
2(2-0-4) |
หมวดวิชาเลือก จำนวนไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้ | ||
572 717 | นวัตกรรมด้านสุขภาพ
(Health Innovation) |
2(2-0-4) |
572 718 | การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) |
2(2-0-4) |
572 719 | การตัดสินใจเพื่อการจัดการระบบสุขภาพ
(Decision Making in Health System Management) |
2(2-0-4) |
572 720 | แบบจำลองการตัดสินใจสำหรับการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
(Decision modeling for Health Technology Assessment) |
2(2-0-4) |
572 721 | สังคมวิทยากับสาธารณสุข
(Public Health Sociology) |
2(2-0-4) |
572 722 | การจัดการห่วงโซ่อุปทานในการดูแลสุขภาพ
(Health Care Supply Chain Management) |
2(2-0-4) |
572 723 | การจัดการตลาดทางสุขภาพ
(Health Marketing Management) |
2(2-0-4) |
572 724 | วัฒนธรรมกับสุขภาวะ
(Culture and Well-being) |
2(2-0-4) |
572 725 | การออกแบบการศึกษาทางระบาดวิทยาสำหรับงานวิจัยทางสุขภาพ
(Epidemiological Study Design for Health Research) |
2(2-0-4) |
572 726 | การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมาน
(Systematic Review and Meta-analysis) |
2(2-0-4) |
572 727 | ปัญหาพิเศษทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Special problems in Health System and Wellness Management) |
2(2-0-4) |
572 728 | การแพทย์ทางเลือกในระบบสุขภาพ
(Complementary and alternative medicine in Health System) |
2(2-0-4) |
572 729 | แก่นกลยุทธ์ในองค์กรสุขภาพ
(Strategic Essential in Health Organization) |
2(2-0-4) |
572 730 | การประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ
(Health Technology assessment) |
2(2-0-4) |
วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) 36 หน่วยกิต | ||
572 753 | วิทยานิพนธ์
(Thesis) |
มีค่าเทียบเท่า 36 หน่วยกิต |
หมวดวิชาบังคับ(ไม่นับหน่วยกิต) จำนวน 10 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปนี้ | ||
572 702 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 1
1*(0-3-0) |
(Seminar in Health System and Wellness Management I) |
572 703 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 2
(Seminar in Health System and Wellness Management II) |
1*(0-3-0) |
572 704 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 3
(Seminar in Health System and Wellness Management III) |
1*(0-3-0) |
572 705 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 4
(Seminar in Health System and Wellness Management IV) |
1*(0-3-0) |
572 706 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 1
(Thesis progression I) |
1*(0-3-0) |
572 707 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 2
(Thesis progression II) |
1*(0-3-0) |
572 708 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 3
(Thesis progression III) |
1*(0-3-0) |
572 709 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 4
(Thesis progression IV) |
1*(0-3-0) |
572 710 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 5
(Thesis progression V) |
1*(0-3-0) |
572 711 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 6
(Thesis progression VI) |
1*(0-3-0) |
หมวดวิชาบังคับ จำนวน 14 หน่วยกิต | ||
572 701 | วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Advanced Research Methodology in Health System and Wellness Management) |
2(2-0-4) |
572 712 | สถิติประยุกต์ในการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Applied statistics in Health System Management and Wellness Management) |
2(2-0-4) |
572 713 | การจัดการองค์กรสุขภาพที่เป็นเลิศ
(Excellence organization management) |
2(2-0-4) |
572 714 | นโยบายสุขภาพ
(Health policy) |
2(2-0-4) |
572 715 | ระบบสุขภาพและบริการสุขภาพ
(Health system and health service ) |
3(3-0-6) |
572 716 | การจัดการทรัพยากรและคุณภาพทางสุขภาพ
(Health Resources and Quality Management) |
3(3-0-6) |
หมวดวิชาเลือก จำนวนไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้ | ||
572 717 | นวัตกรรมด้านสุขภาพ
(Health Innovation) |
2(2-0-4) |
572 718 | การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) |
2(2-0-4) |
572 719 | การตัดสินใจเพื่อการจัดการระบบสุขภาพ
(Decision Making in Health System Management) |
2(2-0-4) |
572 720 | แบบจำลองการตัดสินใจสำหรับการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
(Decision modeling for Health Technology Assessment) |
2(2-0-4) |
572 721 | สังคมวิทยากับสาธารณสุข
(Public Health Sociology) |
2(2-0-4) |
572 722 | การจัดการห่วงโซ่อุปทานในการดูแลสุขภาพ
(Health Care Supply Chain Management) |
2(2-0-4) |
572 723 | การจัดการตลาดทางสุขภาพ
(Health Marketing Management) |
2(2-0-4) |
572 724 | วัฒนธรรมกับสุขภาวะ
(Culture and Well-being) |
2(2-0-4) |
572 725 | การออกแบบการศึกษาทางระบาดวิทยาสำหรับงานวิจัยทางสุขภาพ
(Epidemiological Study Design for Health Research) |
2(2-0-4) |
572 726 | การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมาน
(Systematic Review and Meta-analysis) |
2(2-0-4) |
572 727 | ปัญหาพิเศษทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Special problems in Health System and Wellness Management) |
2(2-0-4) |
572 728 | การแพทย์ทางเลือกในระบบสุขภาพ
(Complementary and alternative medicine in Health System) |
2(2-0-4) |
572 729 | แก่นกลยุทธ์ในองค์กรสุขภาพ
(Strategic Essential in Health Organization) |
2(2-0-4) |
572 730 | การประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ
(Health Technology assessment) |
2(2-0-4) |
วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) 48 หน่วยกิต | ||
572 754 | วิทยานิพนธ์
(Thesis) |
มีค่าเทียบเท่า 48 หน่วยกิต |
หมายเหตุ * หมายถึง รายวิชาที่เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต
1) ผู้เข้าศึกษาแบบ 1.2 และแบบ 2.2 หากมีพื้นความรู้ไม่ครบถ้วน คณะกรรมการประจำคณะวิชาสามารถให้ศึกษารายวิชาจำเป็นสำหรับพื้นฐานเภสัชศาสตร์ก่อนได้ ในจำนวนรายวิชาและหน่วยกิตตามความเหมาะสม ทั้งนี้จะไม่นับรวมเป็นจำนวนหน่วยกิตตามหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
2) นักศึกษาแบบ 2.1 และแบบ 2.2 สามารถเลือกรายวิชาเลือกที่เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีเนื้อหาสาระเทียบเท่าได้ของคณะเภสัชศาสตร์และของคณะวิชาอื่นภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยศิลปากร ทั้งภายในและ/หรือภายนอกประเทศ ทั้งนี้โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำคณะวิชา
572 701 | วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Advanced Research Methodology in Health System and Wellness Management) การวิเคราะห์ปัจจัยและองค์ประกอบที่มีผลต่อองค์กร ระบบสุขภาพและสุขภาวะ การกำหนดประเด็นการวิจัย ระเบียบวิธีวิทยาการและขั้นตอน การวิจัยอย่างเป็นระบบ การกำหนดเรื่อง การวางแผนงานวิจัย การออกแบบการวิจัย ตัวแปรและข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย การแปลข้อมูล การเผยแพร่งานวิจัยและจริยธรรมในงานวิจัย Analysis of factors and compositions important for the organization in health system and wellness management; research topic setting; systematic methodology and research process; planning of a research project; research design; variables and data; population and sample group; research proposal writing; data collection; analysis and interpretation of data; research work dissemination; ethics in pharmacy research. |
2(2-0-4) |
572 702 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 1
(Seminar in Health System and Wellness Management I) เงื่อนไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การเรียนรู้ประสบการณ์ การค้นคว้าข้อมูล งานวิจัย ประเด็นที่ได้รับความสนใจ การนำเสนอ การอภิปรายและวิจารณ์ในหัวข้อที่เฉพาะเจาะจงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ Experiential learning; searching of data, research, and issues of interest; presentation; discussion and critique of specific topics in health system and wellness management. |
1(0-3-0) |
572 703 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 2
(Seminar in Health System and Wellness Management II) เงื่อนไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การเรียนรู้ประสบการณ์ การค้นคว้าข้อมูล งานวิจัย ประเด็นที่ได้รับความสนใจ การนำเสนอ การอภิปรายและวิจารณ์ในหัวข้อที่เฉพาะเจาะจงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ ต่อเนื่องจากรายวิชา 572 702 สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 1 Experiential learning; searching of data, research, and issues of interest; presentation; discussion and critique of specific topics in health system and wellness management; continuing from 572 702 Seminar in Health System and Wellness Management I. |
1(0-3-0) |
572 704 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 3
(Seminar in Health System and Wellness Management III) เงื่อนไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การเรียนรู้ประสบการณ์ การค้นคว้าข้อมูล งานวิจัย ประเด็นที่ได้รับความสนใจ การนำเสนอ การอภิปรายและวิจารณ์ในหัวข้อที่เฉพาะเจาะจงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ ต่อเนื่องจากรายวิชา 572 703 สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 2 Experiential learning; searching of data, research, and issues of interest; presentation; discussion and critique of specific topics in health system and wellness management; continuing from 572 703 Seminar in Health System and Wellness Management II. |
1(0-3-0) |
572 705 | สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 4
(Seminar in Health System and Wellness Management IV) เงื่อนไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การเรียนรู้ประสบการณ์ การค้นคว้าข้อมูล งานวิจัย ประเด็นที่ได้รับความสนใจ การนำเสนอ การอภิปรายและวิจารณ์ในหัวข้อที่เฉพาะเจาะจงทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ ต่อเนื่องจากรายวิชา 572 704 สัมมนาทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ 3 Experiential learning; searching of data, research, and issues of interest; presentation; discussion and critique of specific topics in health system and wellness management; continuing from 572 704 Seminar in Health System and Wellness Management III. |
1(0-3-0) |
572 706 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 1
(Thesis progression I) เงื่อนไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การนำเสนอความก้าวหน้าของวิทยานิพนธ์ การอภิปรายและวิจารณ์ประเด็นการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ โดยเน้นแนวคิด ทฤษฎีและกรอบแนวคิดการวิจัย Presentation of thesis progression; discussion and critique of specific research in health system and wellness management with an emphasis on research theory and concept. |
1(0-3-0) |
572 707 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 2
(Thesis Progression II) เงื่อนไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การนำเสนอความก้าวหน้าของวิทยานิพนธ์ การอภิปรายและวิจารณ์ประเด็นการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ โดยเน้นเครื่องมือและการพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย Presentation of thesis progression, discussion and critique of research issues in health system and wellness with an emphasis on tool and research tool development. |
1(0-3-0) |
572 708 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 3
(Thesis progression III) เงื่อนไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การนำเสนอความก้าวหน้าของวิทยานิพนธ์ การอภิปรายและวิจารณ์ประเด็นการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ โดยเน้นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการทวนสอบความถูกต้องของข้อมูล Presentation of thesis progression; discussion and critique of specific research in health system and wellness management with an emphasis on research data collection and validation. |
1(0-3-0) |
572 709 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 4
(Thesis progression IV) เงื่อนไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การนำเสนอความก้าวหน้าของวิทยานิพนธ์ การอภิปรายและวิจารณ์ประเด็นการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ โดยเน้นการจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผลและการสร้างข้อสรุปการวิจัย Presentation of thesis progression; discussion and critique of specific research in health system and wellness management with an emphasis on research data management, analysis, interpretation and development of research conclusion. |
1(0-3-0) |
572 710 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 5
(Thesis progression V) เงื่อนไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การนำเสนอความก้าวหน้าของวิทยานิพนธ์ การอภิปรายและวิจารณ์ประเด็นการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ โดยเน้นการพัฒนาผลการศึกษาไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่สำคัญ Presentation of thesis progression; discussion and critique of specific research in health system and wellness management with an emphasis on the application of research findings in the development of policy proposal. |
1*(0-3-0) |
572 711 | ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ 6
(Thesis Progression VI) เงื่อนไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การนำเสนอความก้าวหน้าของวิทยานิพนธ์ การอภิปรายและวิจารณ์ประเด็นการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ โดยเน้นการเผยแพร่ผลการวิจัย Presentation of thesis progression; discussion and critique of specific research in health system and wellness management with an emphasis on research result dissemination. |
1(0-3-0) |
572 712 | สถิติประยุกต์ในการวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Applied statistics in Health System Management and Wellness Management) วิธีการทางสถิติในงานวิจัยทางการจัดการระบบสุขภาพ สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมาน การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง 2 กลุ่ม การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมตัวแปรพหุคูณ การหาความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ ความถดถอยเชิงเส้น การวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติก การวิเคราะห์องค์ประกอบ การวิเคราะห์เส้นทาง การแปลผลค่าสถิติ การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสุขภาพ Statistical methods in health systems management; descriptive statistics; inferential statistics; comparison of differences between the two groups; variance analysis; covariance analysis multivariate covariance analysis; relationship determination; linear regression analysis; logistic regression analysis; factor analysis; path analysis; interpretation of statistical data; application of statistical programs for health data analysis. |
2(2-0-4) |
572 713 | การจัดการองค์กรสุขภาพที่เป็นเลิศ
(Excellence Organization Management) การนำองค์กร การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกขององค์กร การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบายและวัตถุประสงค์ทางการจัดการ การวางแผนกลยุทธ์ระดับธุรกิจและระดับหน้าที่ การจัดการ ความเสี่ยง ความสัมพันธ์กับลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสีย การจัดการความรู้ และสารสนเทศ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การออกแบบระบบงาน การควบคุมและการประเมินผลทางการจัดการ Leading the organization; analyzing the internal and external environment of the organization; establishing vision, mission, policies and objectives of management; business and functional strategic; risk management, relationship with customers and stakeholders; knowledge and Information technology management; human resource management; designing system for management control and evaluation. |
2(2-0-4) |
572 714 | นโยบายสุขภาพ
(Health Policy) ระบบสุขภาพทั้งในประเทศและต่างประเทศ แนวคิดและกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ ความเชื่อมโยงของระบบสุขภาพกับนโยบายสุขภาพ แนวคิดและทฤษฎีการกำหนดนโยบาย กระบวนการนโยบาย การวิเคราะห์นโยบายทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ การประเมินผลกระทบของนโยบายสุขภาพ การจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย Health systems in the country and from other countries; concepts and processes of health system reform; the link between health systems and health policies; concepts and theory of policy making; policy procedure; quantitative and qualitative analysis for policy; assessing the impact of health policy; developing policy proposals. |
2(2-0-4) |
572 715 | ระบบสุขภาพและบริการสุขภาพ
(Health System and Sealth Service) ระบบสุขภาพในบริบทของประเทศไทย องค์ประกอบสุขภาพ ระบบสาธารณสุข ระบบบริการสุขภาพ ระบบยา ระบบประกันสุขภาพ การเงินการคลังด้านสุขภาพ ตัวชี้วัดทางสุขภาพ Health system in the context of Thailand; the components of health; public health system; health service system; pharmaceutical system; health insurance system; health financing; health indicators. |
3(3-0-6) |
572 716 | การจัดการทรัพยากรและคุณภาพทางสุขภาพ
(Health Resources and Quality Management) หลักการจัดการงานสุขภาพ การวางแผน การจัดองค์กร การดำเนินงานและการประเมินผล การจัดการโครงการทางสุขภาพ ผู้นำและกระบวนการพัฒนาภาวะผู้นำ การจัดการทรัพยากรทางสุขภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากร การจัดการทรัพยากรเชิงกลยุทธ์ เครื่องมือในการบริหารทรัพยากรสุขภาพ การจัดการการเงินเบื้องต้น สารสนเทศในการจัดการทรัพยากร การจัดการคุณภาพ การวัดและประเมินคุณภาพ การพัฒนาระบบ กลไกจัดการคุณภาพ Principles of health management; planning; organizing; implementation and evaluation; health project management; leader and leadership development process; health resource management; resource analysis; strategic resource management; quality management tools; fundamental financial management; information technology in resource management; quality management; quality measurement and evaluation; quality system development. |
3(3-0-6) |
572 717 | นวัตกรรมด้านสุขภาพ
(Health Innovation) หลักการคิดเชิงออกแบบ วิธีคิดรูปแบบต่าง ๆ ประเภทงานของนวัตกรรม วงจรชีวิตของกระบวนการคิดเชิงออกแบบนวัตกรรม แนวคิดองค์กรนวัตกรรม การออกแบบนวัตกรรมเพื่อพัฒนางานในระบบสุขภาพ การวิเคราะห์ความเป็นไปได้และการเผยแพร่นวัตกรรม Principles of design thinking; various thinking approaches; types of innovation; the life cycle of the innovative design; concept of Innovative organization; innovative design for pharmaceutical development; feasibility analysis and dissemination of innovation. |
2(2-0-4) |
572 718 | การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) หลักการและระเบียบวิธีจัยเชิงคุณภาพ หลักการทำงานและการบันทึกข้อมูลภาคสนาม เทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูล กระบวนการตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ การจัดทำโครงร่างงานวิจัย Concepts and qualitative research methodologies; principle of research conduct and field data logging; techniques for data collection; data evaluation process, qualitative data analysis, research proposal. |
2(2-0-4) |
572 719 | การตัดสินใจเพื่อการจัดการระบบสุขภาพ
(Decision Making in Health System Management) กระบวนการและขั้นตอนในการตัดสินใจ เกณฑ์การตัดสินใจ ทฤษฎีและตัวแบบที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจ ลักษณะของการตัดสินใจ การตัดสินใจทางสุขภาพ เครื่องมือการตัดสินใจเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ จริยธรรมในการตัดสินใจ Procedures and steps in decision making; criteria in decision making; factors influencing decision making processes; decision making characteristics; decision making in healthcare and pharmacy; qualitative and quantitative aspects in decision making; decision making theories and models; ethics in decision making. |
2(2-0-4) |
572 720 | แบบจำลองการตัดสินใจสำหรับการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
(Decision Modeling for Health Technology Assessment) ความหมาย ความสำคัญของแบบจำลองการตัดสินใจ ขั้นตอนการสร้างแบบจำลองการตัดสินใจ การกำหนดตัวแปรในแบบจำลอง การจัดการความไม่แน่นอนของตัวแปร แบบจำลองแผนภูมิต้นไม้ แบบจำลองมาร์คอฟ แบบจำลองแบบผสมผสาน การวิเคราะห์ความไวของตัวแปรในแบบจำลอง การวิเคราะห์ผลกระทบงบประมาณ Definition and importance of decision-making models, decision modeling process, assigning variables in a model, managing uncertain variable, family tree model, Markov model, mixed model, sensitivity analysis in the model, budget impact analysis. |
2(2-0-4) |
572 721 | สังคมวิทยากับสาธารณสุข
(Public Health Sociology) ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยากับการสาธารณสุข วิเคราะห์ปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาพ การเจ็บป่วย ทั้งในระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชนและสังคม ความต้องการและการจัดบริการด้านสาธารณสุข การเสนอแนวทางจัดการปัญหาในระบบสาธารณสุขด้วยองค์ความรู้ทางสังคมวิทยา The relationship between sociological theory and public health; analyzing social factors affecting health and morbidity at individual, familial, community and society level; demand and provision of public health services; proposing a solution for problem management in the public health system through the sociological discipline. |
2(2-0-4) |
572 722 | การจัดการห่วงโซ่อุปทานในการดูแลสุขภาพ
(Health Care Supply Chain Management) บทบาทของห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในการดูแลสุขภาพ ความสัมพันธ์ภายในห่วงโซ่อุปทาน แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องทางห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในการดูแลสุขภาพ ปัจจัยและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ การจัดซื้อ การจัดการคลังสินค้า การกระจายและการขนส่งสินค้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การจัดการนวัตกรรมทางด้านห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ The role of supply chains and logistics in health care; relationships within the supply chain; concepts and theories related to supply chain and logistics in health care; factors and activities related to supply chain and logistics; procurement, warehouse management; distribution and material management; information and communication technology; innovation management in supply chain and logistics; strategic management in supply chain and logistics. |
2(2-0-4) |
572 723 | การจัดการตลาดทางสุขภาพ
(Health Marketing Management) ปรัชญาและแนวคิดการจัดการตลาดทางสุขภาพ การวิเคราะห์โอกาสทางการตลาด ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดกลยุทธ์การตลาดทางสุขภาพ ประยุกต์ใช้หลักการจัดการตลาด การดำเนินงาน การประเมินผล และการกำกับกระบวนการการจัดการตลาดทางสุขภาพภายใต้ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับทางกฎหมายและจรรยาบรรณทางวิชาชีพเภสัชกรรมที่เกี่ยวข้อง Philosophy and concept of health marketing management; market opportunity analysis; factors affecting the formulation of health marketing strategies; applying the principles of market management, operation, evaluation and supervision of the health market management process under relevant rules, regulations, legal and professional codes of ethics. |
2(2-0-4) |
572 724 | วัฒนธรรมกับสุขภาวะ
(Culture and Well-being) ความสัมพันธ์และอิทธิพลของวัฒนธรรมต่อวิถีชีวิต สุขภาวะ และความเจ็บป่วย การวิเคราะห์และเปรียบเทียบ ความคิด ความเชื่อ และระบบความหมายคุณค่า ที่ส่งผลต่อการจัดการสุขภาวะภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม การจัดการสุขภาวะภายใต้การเปลี่ยนผ่านทางวัฒนธรรม เสนอแนวทางสร้างเสริมสุขภาวะโดยใช้แนวคิดทางวัฒนธรรมสุขภาพ Relationship and influence of culture on lifestyle, health and sickness; analysis and comparison of ideas, beliefs, and value-meaning systems affecting health management under a multicultural society; wellness management under trans cultural care. |
2(2-0-4) |
572 725 | การออกแบบการศึกษาทางระบาดวิทยาสำหรับงานวิจัยทางสุขภาพ
(Epidemiological Study Design for Health Research) การวัดทางระบาดวิทยา สถิติที่ใช้ในงานด้านระบาดวิทยา รูปแบบและวิธีดำเนินการงานวิจัยทางระบาดวิทยา การประยุกต์ใช้ระบาดวิทยาในการจัดการระบบสุขภาพ การสอบสวนโรคและปัญหาสุขภาพ การคัดกรองปัญหาสุขภาพในชุมชน การเฝ้าระวังทางด้านสาธารณสุข Epidemiological measurements; statistics used in epidemiological study; type and approach of conducting epidemiological research; application of epidemiology in health system management; investigation of diseases and health problems; screening for health problems in the community; public health surveillance. |
2(2-0-4) |
572 726 | การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมาน
(Systematic Review and Meta-analysis) ความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมาน ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ วิธีการสืบค้น การคัดเลือกงานวิจัย การสกัดข้อมูล การประเมินงานวิจัย การวิเคราะห์อภิมาน การแปลผล The importance of systematic literature review and meta-analysis; systematic literature review process; searching approach; research selection; data extraction; research assessment; meta-analysis, interpretation of results. |
2(2-0-4) |
572 727 | ปัญหาพิเศษทางการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะ
(Special problems in Health System and Wellness Management) การกำหนดประเด็นที่สำคัญในด้านการจัดการระบบสุขภาพและระบบสุขภาวะที่เป็นปัจจุบัน การค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ประเด็นที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ การนำเสนอข้อสรุป Determining important issues in health system management and current wellness management; systematic research from various sources; data collection analysis and synthesis of relevant issues; presentation of conclusions. |
2(2-0-4) |
572 728 | การแพทย์ทางเลือกในระบบสุขภาพ
(Complementary and Alternative Medicine in Health System) การบูรณาการการแพทย์ทางเลือกกับระบบสุขภาพ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาการบริการสุขภาพ การประเมินประสิทธิผล และความปลอดภัยด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ การจัดบริการการแพทย์ทางเลือก กฎระเบียบ การควบคุมกำกับการแพทย์ทางเลือก Integrating alternative medicine with health systems; concepts and theories related to seeking health services; evidence-based efficacy and safety assessment; alternative medicine service provision; regulations and supervision of alternative medicine. |
2(2-0-4) |
572 729 | แก่นกลยุทธ์ในองค์กรสุขภาพ
(Strategic Essential in Health Organization) แนวคิดและกระบวนการการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อสร้างสรรนวัตกรรม การพัฒนาองค์กรสู่ระดับนำด้านสุขภาพโดยอาศัยเครื่องมือต่าง ๆ ทิศทางการจัดการเชิงกลยุทธ์ในอนาคต Strategic concepts and management processes to create innovation; organizational development toward a leading wellness organization using various tools; future directions for strategic management. |
2(2-0-4) |
572 730 | การประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ
(Health Technology Assessment) ความสำคัญของการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพในการบริหารจัดการระบบยา การประเมินต้นทุนความเจ็บป่วยและต้นทุนต่อหน่วยและประเมินผลลัพธ์ด้านสุขภาพ การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของเทคโนโลยี ทางการแพทย์ และวิเคราะห์ความไว การประเมินคุณภาพงานวิจัย ด้านการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ The importance of health technology assessment in pharmaceutical system management; cost of illness assessment, unit cost estimation and health outcomes assessment; cost-effectiveness analysis of medical technology and sensitivity analysis; quality evaluation of research in health technology assessment. |
2(2-0-4) |