ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Tetracera loureiri (Finet & Gagnep.) Pierre ex Craib |
ชื่อวงศ์ |
DILLENIACEAE |
ชื่อสามัญ |
|
ชื่ออื่นๆ |
ยโสธร |
ลิ้นแฮด |
กรุงเทพมหานคร |
รสสุคนธ์ขาว, มะตาดเครือ, สุคนธรส, เสาวรส |
ประจวบคีรีขันธ์ |
เถากะปดใบเลื่อม |
ตรัง |
บอระคน |
นครศรีธรรมราช |
ย่านปด |
สุราษฎร์ธานี |
ปดคาย, ปดเลื่อน |
ปัตตานี |
ปดน้ำมัน |
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
ไม้เถาเนื้อแข็ง
ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรีถึงรูปขอบขนาน กว้าง 3 - 5 ซม. ยาว 6 - 10 ซม. ปลายใบกลมถึงมน โคนใบมนถึงแหลม ผิวใบเรียบหรือมีขนสากเล็กน้อย
ดอกช่อ แบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายยอด กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 3 กลีบ สีขาว เกสรเพศผู้จำนวนมาก สีขาว
ผลแห้งแตกแนวเดียว รูปไข่เบี้ยว มีจะงอย เมล็ดมีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงสด
|
ประโยชน์ทางยา |
ลำต้นหรือราก |
ต้มน้ำดื่ม แก้ฝี แก้บวม |
ใบ |
ต้มน้ำดื่มแก้สะอึก |
ดอก |
เข้ายาหอมบำรุงหัวใจ แก้ลม มักใช้คู่กับเถาอรคนธ์ |
|
DNA barcode |
ตัวอย่าง
|
รูปภาพ |
|
เอกสารอ้างอิง |
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล. (2548). สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. หน้า 159. |
|
|
|