ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Syzygium gratum (Wight) S.N.Mitra var. gratum |
ชื่อวงศ์ |
MYRTACEAE |
ชื่อสามัญ |
|
ชื่ออื่นๆ |
เชียงใหม่, ภาคกลาง |
ไคร้เม็ด |
ภาคตะวันออก, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
เม็ก |
สกลนคร, สตูล |
เสม็ด |
ตราด |
เสม็ดขาว, เสม็ดแดง, เสม็ดเขา |
นครศรีธรรมราช |
เม็ดชุน |
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งเป็นสันสี่เหลี่ยม
ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่ รูปรีถึงรูปใบหอก กว้างได้ถึง 5 ซม. ยาวได้ถึง 12 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลมหรือมน
ดอกช่อ แบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายยอด ดอกย่อยสีขาว ไม่มีก้านดอก ฐานดอกรูปถ้วย ทรงรูปกรวยแกมทรงกระบอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม กลีบดอก 5 กลีบ รูปเกือบกลม สีเหลืองอ่อน เกสรเพศผู้จำนวนมาก
ผลสด ทรงกลม สีขาว |
ประโยชน์ทางยา |
ยอดอ่อน |
รับประทานสด ขับลม |
|
DNA barcode |
ตัวอย่าง
|
รูปภาพ |
|
เอกสารอ้างอิง |
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล. (2548). สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. หน้า 156. |
|
|
|