ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Psilotrichum ferrugineum Moq. |
ชื่อวงศ์ |
AMARANTHACEAE |
ชื่อสามัญ |
|
ชื่ออื่นๆ |
อุบลราชธานี |
หญ้าหางหมาไน, หญ้าก้างปลา |
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 30 ซม.
ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามรูปใบหอกถึงรูปแถบ กว้าง 0.5 - 3 ซม. ยาว 1 - 8 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบเรียว
ดอกช่อ แบบช่อเชิงลด ออกที่ปลายยอด รูปทรงกระบอกแกมกระสวย ยาวได้ถึง 2.5 ซม. สีขาวหรือแดง ใบประดับเป็นเยื่อ ติดทน กลีบรวม 5 กลีบ รูปใบหอก ปลายแหลม ยาว 2 - 2.5 มม.
ผลแห้งแตกตามขวาง ทรงรี เมล็ดสีดำ เป็นมัน |
ประโยชน์ทางยา |
ทั้งต้น |
ต้มน้ำดื่มหรือผสมน้ำผึ้งปรุงเป็นยาลูกกลอนรับประทาน แก้ปวดท้อง ขับลม ผสมแก่นมะเดื่อปล้อง และรากมะเดื่อชุมพร ต้มน้ำดื่ม รักษาวัณโรค |
|
DNA barcode |
ตัวอย่าง
|
รูปภาพ |
|
เอกสารอ้างอิง |
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล. (2548). สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. หน้า 135. |
|
|
|