ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Luisia thailandica Seidenf. |
ชื่อวงศ์ |
ORCHIDACEAE |
ชื่อสามัญ |
|
ชื่ออื่นๆ |
เชียงใหม่ |
เอื้องลิ้นดำใหญ่ |
กรุงเทพมหานคร |
เอื้องลิ้นดำ |
อุบลราชธานี |
กล้วยน้ำไทใหญ่ |
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้นตั้งตรง สูงประมาณ 20 - 50 ซม.
ใบเดี่ยว เรียงสลับเป็นแท่งเรียวยาว กว้าง 0.5 ซม. ยาว 10 - 12 ซม.
ดอกเดี่ยว ออกที่ลำต้น กลีบเลี้ยงและกลีบดอกงุ้มลง กลีบดอกด้านข้างรูปใบหอกกลับ สีเหลืองแกมเขียว กลีบปากสีม่วงเข้ม
ผลแห้งแตก รูปทรงกระบอก สีเขียวแกมน้ำตาล มีสันตามยาว |
ประโยชน์ทางยา |
ทั้งต้น |
ผสมเอื้องตะขาบใหญ่ทั้งต้น และต้างใหญ่ทั้งต้น ต้มน้ำดื่ม รักษาโรคตับโต ตับแข็ง ผสมกาฝากมะม่วงที่ขึ้นบนต้นน้อยหน่า และลูกใต้ใบทั้งต้น ต้มน้ำดื่ม แก้เบาหวาน |
|
DNA barcode |
ตัวอย่าง
|
รูปภาพ |
|
เอกสารอ้างอิง |
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล. (2548). สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. หน้า 110. |
|
|
|