ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale |
ชื่อวงศ์ |
RUBIACEAE |
ชื่อสามัญ |
|
ชื่ออื่นๆ |
ภาคเหนือ |
ตุ้มกว้าว |
ภาคเหนือ, ภาคกลาง |
กว้าว |
เชียงใหม่ |
ตองเหลือง, ตานควาย, ตุ้มควาย |
ลำปาง |
ตองแดงเหลือง, ตะเพียนทอง |
ตาก |
กระทุ่มขว้าว |
เพชรบูรณ์ |
ตุ้มก้านแดง, เฝ้า |
นครราชสีมา |
ล่องเลาะ |
เลย |
กาว |
อุบลราชธานี, อุดรธานี |
ขาว |
กาญจนบุรี |
กระทุ่มดง, กระทุ่มแดง |
จันทบุรี |
ขะเฝ่า |
สุราษฎร์ธานี |
วาว |
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. พบหูใบชัดเจนที่ยอด
ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่กว้าง กว้าง 8 - 15 ซม. ยาว 8 - 16 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบรูปหัวใจ
ดอกช่อ แบบช่อกระจุกแน่น แกนช่อดอกกลม กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก สีเหลืองนวล ก้านชูยอดเกสรเพศเมียยาวพ้นหลอดกลีบดอก ยอดเกสรเพศเมียสีเขียว
ผลแห้งแตก ผลย่อยยาว 4 - 5 มม. มีขนสั้นนุ่ม เมล็ดแบน |
ประโยชน์ทางยา |
ลำต้น |
ผสมก้านใบกล้วยตีบ และลำต้นลั่นทมแดง แช่น้ำดื่ม แก้ร้อนใน |
|
DNA barcode |
ตัวอย่าง
|
รูปภาพ |
|
เอกสารอ้างอิง |
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล. (2548). สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. หน้า 87. |
|
|
|