ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Eriobotrya bengalensis (Roxb.) Hook.f. |
ชื่อวงศ์ |
ROSACEAE |
ชื่อสามัญ |
|
ชื่ออื่นๆ |
เชียงใหม่ |
จำปีดง |
ภาคตะวันตก |
ปะองเทศ |
เลย |
เมียด |
อุบลราชธานี |
เข็มลาย |
บุรีรัมย์ |
สีเสียดน้ำ |
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 ม.
ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปรีถึงรูปใบหอก กว้าง 4 - 7 ซม. ยาว 10 - 20 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่มแหลมหรือมน ขอบใบจักฟันเลื่อย
ดอกช่อ แบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายยอด ยาวได้ถึง 12 ซม. มีกลิ่นหอม มีขนสีน้ำตาลปกคลุม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีน้ำตาลอ่อน กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว
ผลสด ทรงกลมหรือรูปไข่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 2 - 3 ซม. สีเหลือง เมล็ด 1 - 2 เมล็ด กลม
|
ประโยชน์ทางยา |
|
DNA barcode |
ตัวอย่าง
|
รูปภาพ |
|
เอกสารอ้างอิง |
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล. (2548). สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. หน้า 74. |
|
|
|