ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Cirrhopetalum retusiusculum (Rchb.f.) Hemsl. |
ชื่อวงศ์ |
ORCHIDACEAE |
ชื่อสามัญ |
|
ชื่ออื่นๆ |
ทั่วไป |
เขี้ยวสิงโต |
อุบลราชธานี |
ม้าแตกคอก |
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยลูกไข่ ยาว 2.5 - 3 ซม.
ใบเดี่ยว มี 1 ใบ รูปขอบขนานแคบ กว้าง 0.8 - 1.5 ซม. ยาว 6 - 10 ซม.
ดอกช่อ แบบช่อซี่ร่ม ออกจากโคนลำลูกกล้วย ดอกย่อย 6 - 12 ดอก เรียงแผ่ระนาบเดียวกันคล้ายรูปพัด กลีบเลี้ยงด้านบนและกลีบดอก สีแดงม่วง กลีบเลี้ยงคู่ล่างสีเหลืองสด ยาวประมาณ 2 ซม. ขอบกลีบด้านในเชื่อมติดกัน กลีบปากขนาดเล็ก สีเหลือง
ผลแห้งแตก เมล็ดจำนวนมาก |
ประโยชน์ทางยา |
ทั้งต้น |
ผสมเอื้องตีนจิ้งจกทั้งต้น ต้มน้ำดื่ม บำรุงร่างกาย เจริญอาหาร |
|
DNA barcode |
ตัวอย่าง
|
รูปภาพ |
|
เอกสารอ้างอิง |
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล. (2548). สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. หน้า 51. |
|
|
|