ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Burmannia coelesris D.Don |
ชื่อวงศ์ |
BURMANNIACEAE |
ชื่อสามัญ |
|
ชื่ออื่นๆ |
อุบลราชธานี |
หญ้าแลไข่กา, จำปีบะ |
ภาคกลาง |
ดอกดิน |
ภาคใต้ |
กล้วยเล็บมือนาง |
ชุมพร |
กล้วยมือนาง |
สุราษฎร์ธานี |
หญ้าหนวดเสือ |
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
ไม้ล้มลุกปีเดียว สูงได้ถึง 40 ซม.
ใบเดี่ยว เรียงสลับกระจุกที่โคน รูปแถบหรือรูปใบหอก ปลายเรียวแหลม กว้าง 1.5 - 3 มม. ยาวได้ถึง 1.8 ซม.
ดอกช่อ แบบช่อกระจุก ดอกย่อย 2 - 6 ดอก กลีบรวมเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ยาวประมาณ 5 มม. ปลายแยกเป็น 6 แฉก เรียงเป็น 2 ชั้น รูปไข่ถึงรูปใบหอก ยาว 0.5 - 1.5 มม. สีขาว ดอกมี 3 ปีก ยาวตลอดแนวรังไข่และหลอดกลีบรวม ปีกกว้างประมาณ 3 มม. ยาวประมาณ 1 ซม. สีน้ำเงินม่วงหรือขาว
ผลแห้งแตก รูปไข่กลับ เมล็ดจำนวนเมล็ด |
ประโยชน์ทางยา |
ทั้งต้น |
ต้มน้ำดื่ม บำรุงโลหิตหลังการอยู่ไฟ ผสมน้ำผึ้ง ปรุงเป็นยาลูกกลอน รับประทานแก้อัมพฤกษ์ อัมพาต |
|
DNA barcode |
ตัวอย่าง
|
รูปภาพ |
|
เอกสารอ้างอิง |
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล. (2548). สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. หน้า 40. |
|
|
|