ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Bauhinia scandens L. |
ชื่อวงศ์ |
FABACEAE (LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE) |
ชื่อสามัญ |
|
ชื่ออื่นๆ |
ภาคเหนือ |
กระไดวอก |
ชัยภูมิ |
โชกนุ้ย |
เชียงใหม่ |
มะลืมดำ |
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
ไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ มีมือจับ เถาแก่แบน ขดทับไปมา
ใบเดี่ยว เรียงสลับรูปไข่ กว้าง 6 -10 ซม. ยาว 5 - 12 ซม. ปลายใบแยกเป็น 2 แฉก ปลายแฉกแหลม โคนใบรูปหัวใจ
ดอกช่อ แบบช่อกระจะ ดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกรูปไข่กลับ สีขาวแกมเหลือง
ผลเป็นฝักแห้งแตก รูปรี แบน เมล็ดรูปขอบขนาน มี 1 - 2 เมล็ด |
ประโยชน์ทางยา |
ลำต้น |
ต้มน้ำหรือฝนน้ำดื่ม แก้บิด |
เถา |
แก้พิษ แก้ไข้ |
เมล็ด |
ถ่ายพยาธิ แก้ไข้เชื่อมซึม มีอาการหน้าหมองเนื่องจากพิษไข้ แก้ร้อนใน ขับเหงื่อ แก้พิษฝี |
|
DNA barcode |
ตัวอย่าง
|
รูปภาพ |
|
เอกสารอ้างอิง |
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล. (2548). สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. หน้า 33. |
|
|
|